วันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

พื้นที่แตกจากแรงดันน้ำ ภาคการซ่อมแซม

          มีคนรู้จักหลาย ๆ คน  เห็นพื้นแตกจากแรงดันน้ำ แล้วเล่าให้ผมฟังว่า  สงสัยช่างทำพื้นบ้าง ช่างปูระเบื้องบ้าง ที่ทำงานคอนกรีตพื้นไว้ไม่ดี ทำให้พื้นแตกร้าว  ผมจึงเล่าให้ฟังว่า บ้านพักอาศัย ออกแบบรับแรงกันเพียง 150 กิโลกรัมต่อตารางเมตร เท่านั้น แต่แรงดันน้ำที่สูง 1 เมตร มีแรงดันตั้ง 1 ตัน ต่อตารางเมตรเลยนะครับ (จริง ๆ ยังไม่พอ มันยังดันกลับด้านที่ออกแบบไว้อีกต่างหาก  หากอยากทราบรายละเอียดให้กลับไปอ่านบทความเก่านะครับ)

        ช่างมันก่อนเถอะครับ ภาคนี้ผมจะมาอธิบายถึง อาการที่พื้นพังเสียหาย  และต้องซ่อมอย่างไร และสำหรับข้อดี ข้อเสียของวิธีการซ่อมแบบต่าง ๆ     เพราะแน่นอน  ถ้าท่านได้ผู้รับเหมาซ่อม หลายคน จะบอกวิธีต่าง ๆ นานา  ซึ่งอาจไม่เหมือนกัน  และต่างยืนยันว่า "ซ่อมได้แข็งแรงแน่นอนครับ" มันจะจริงหมด ครบถ้วนหรือไม่ ? อย่างไร ?



เริ่มเลยมาดูมามันพังอย่างไรนะครับ จะได้ซ่อมได้ถูกจุด
ดูรูปจากหนังสือคอนกรีตเสริมเหล็กของศ.ดร.วินิตนะครับ

(ที่มาของรูป: วินิต, 2554)
        พฤติกรรมพื้นบ้าน  ก็คล้าย ๆ กันคานนะครับ สั้น ๆ คาดว่า พื้นที่น้ำทะลุ น่าจะอยู่ในสภาวะ ในรูป ค
ดังนั้นซ๋อมได้เลยครับ

(แล้วจะมา update ให้ละเอียด ต่อนะครับ)

สิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ดูความแข็งแรงของโครงสร้างบ้านของเรา ................รออีกนิดครับแล้วจะมาเขียนต่อให้ พร้อมรูปถ่ายจากตัวอย่างจากที่ต่าง ๆ ครับ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น